
326
คดีล่วงละเมิดทางเพศเด็กทางอินเทอร์เน็ต
46
ถูกแสวงหาผลประโยชน์
357
ถูกทำร้ายร่างกาย
104
ค้าประเวณีเด็ก
580
ถูกข่มขืนอนาจาร
การละเมิดทางเพศเด็ก
เป็นอาชญากรรมที่ร้ายแรง
ไม่ควรมีใครถูกกระทำ
สีฟ้า
ในการกระทำใดๆที่เกี่ยวข้องกับเด็ก
ผลประโยชน์ของเด็กจะต้องถือเป็น
ความสำคัญลำดับหนึ่ง
สีเขียว
เด็กทุกคนมี
สิทธิที่จะมีเวลาพัก
มีเวลาว่าง และเล่น
สีส้ม
เด็กที่ไม่สามารถอาศัยอยู่กับครอบครัว มีสิทธิที่
จะได้รับการเลี้ยงดูทางเลือกเช่น การรับเป็นบุตร
บุญธรรม
สีชมพู
การลักลอบค้าเด็กในทุกรูปแบบจะต้องถูกป้องกัน ไม่ให้เกิดขึ้น
สีม่วง
เด็กทุกคนมีสิทธิในการใช้ชีวิตและพัฒนาตัวเอง
สีน้ำเงิน
เด็กทุกคนจะได้รับ
สิทธิเท่าเทียมกัน
ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด
หรืออยู่ภายใต้เงื่อนไขใดๆ
สีเหลือง
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้องจาก
ความรุนแรง และการถูกทำร้ายทุกรูปแบบ
สีเบจ
เด็กทุกคนมีสิทธิ
ได้รับการปกป้อง
จากการแสวงหา
ผลประโยชน์
และการถูกคุกคามทางเพศทุกรูปแบบ
สีแดง
เด็กที่เป็นเหยื่อของการถูกละเลย ทอดทิ้ง
หาผลประโยชน์ หรือถูกคุกคามทางเพศ
มีสิทธิที่จะได้รับการฟื้นฟูและ กลับเข้าสู่สังคมปกติ
สีขาว
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะแสดงความเห็นในทุกประเด็นที่มีผลต่อพวกเขา และจะต้องถูกรับฟัง
*ที่มาข้อมูลปี 2567 จากกรมกิจการเด็กและเยาวชน
ก่อตั้งเมื่อ ปี 2006
สำนักงาน 77/190-191 ถ. กรุงธนบุรี แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600

เพื่อให้เราได้รับการปกป้องเเละปลอดภัยจากสถานการณ์อันตราย
แจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทุกรูปภาพ วิดีโอ ตัวอักษรสำคัญเเก่การช่วยเหลือเเละดำเนินกฎหมาย
เก็บหลักฐาน
เป็นพยานช่วยเป็นหูเป็นตา ปกป้อง และเพื่อความสบายใจ
บอก พ่อ เเม่ พี่ เพื่อน คุณครู หรือคนที่ไว้ใจ
ปลีกตัวออกมาจากสถานการณ์นั้นทันที
ปฎิเสธเเละหนี
สตินั้นสำคัญมาก ค่อย ๆ คิดว่าเรากำลังถูกลวนลาม/คุกคาม
ตั้งสติ
4.
3.
2.
1.
5 สิ่งที่ต้องทำเมื่อถูกคุกคาม!
5.
กิจกรรมของเรา
Child Protection Summit 2024
การจัดงาน Child Protection Summit 2024 ที่จัดโดยความร่วมมือระหว่าง World Childhood Foundation และ Safeguardkids Foundation เเละมีการร่วมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และ กระทรวงยุติธรรม เพื่อแก้ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศเด็กในไทย

พาร์เนอร์ร่วมกับมูลนิธิ





ประมวลกฎหมายอาญาในส่วนความผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็ก ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เห็นชอบให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2558 ตามมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ 27/2558 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ในการนี้
ใน พ.ศ. 2556 เมื่อได้มีการรณรงค์ผลักดันการออกกฎหมายอาญาว่าด้วยสื่อลามกอนาจารเด็ก ประเทศไทยและสวีเดนได้ร่วมกันก่อตั้งมูลนิธิพิทักษ์และคุ้มครองเด็ก หลังจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เห็นสมควรประกาศใช้เป็นกฎหมาย มูลนิธิพิทักษ์และคุ้มครองเด็กได้ทำงานร่วมกับเครือข่ายต่างๆ ในการรณรงค์ให้มีการสร้างความรับรู้ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายใหม่ฉบับนี้ของประเทศไทย ให้แก่สาธารณชนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ โครงการรณรงค์ในครั้งนี้ประกอบด้วย การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายนี้ในรายการโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ บทความในนิตยสาร สปอตรณรงค์ และเว็บไซต์นี้
The Law we Force
The Law we force
ผู้บริหารมูลนิธิพิทักษ์และคุ้มครองเด็ก
Foundation for the Protection and Protection of Children

นายชเล วุทธานันท์
ประธานกรรมการและเลขาธิการ

นายสุริยน ศรีอรทัยกุล
รองประธานกรรมการ

พ.ต.ต.สุนทร อรุณนารา
กรรมการ

นางสาวดาริณ พันธุศักดิ์
กรรมการและเลขานุการและเหรัญญิก

นายกีรติ แก่นแก้ว
กรรมการและรองเลขาธิการ

นายชเล วุทธานันท์
ประธานกรรมการและเลขาธิการ

นายสุริยน ศรีอรทัยกุล
รองประธานกรรมการ

พ.ต.ต.สุนทร อรุณนารา
กรรมการ

นางสาวดาริณ พันธุศักดิ์
กรรมการและเลขานุการและเหรัญญิก

นายกีรติ แก่นแก้ว
กรรมการและรองเลขาธิการ